สถาบันสงฆ์ในสังคมไทย

...ในสังคมประชาธิปไตย ผู้นำที่ได้รับการเคารพ และยกย่องสรรเสริญจากประชาชนทุกคน เป็นผู้ที่มักน้อยสันโดษในความเป็นอยู่ และมีอิทธิบาทในการปฏิบัติงานและหน้าที่ของตนทั้งสิ้น...

...พระสงฆ์ในความหมายของพระพุทธเจ้า ย่อมจะต้องเป็นผู้ที่สละความเป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย มีชีวิตอยู่อย่างง่ายๆ ในความหมายของสันโดษ เป็นผู้รักและมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ของตน ในความหมายของอิทธิบาท เป็นตัวอย่างของผู้ที่ได้รับความสุขพร้อมทั้งความสำเร็จ ข้อควรระวังสำหรับผู้ปฏิบัติตามตัวอย่าง อยู่ที่ต้องกำหนดให้ถูกต้องว่า ฐานะของตนควรทำได้แค่ไหน อะไรเป็นหน้าที่ อะไรเป็นผลสำเร็จที่เป็นจุดหมายแห่งหน้าที่ของตน...

ภาษาไทย
ที่มาจาก การประพันธ์ เมื่อ มีนาคม ๒๕๑๒
ข้อมูลพัฒนาการ
  • พิมพ์ครั้งแรก (มีนาคม ๒๕๑๒) ใน "สังคมศาสตร์ปริทัศน์" ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๔
  • พิมพ์ครั้งที่ ๒ (๒๕๑๘) ใน "ปรัชญาการศึกษาไทย" จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์เคล็ดลับไทย
  • พิมพ์ครั้งที่ ๓ (๒๕๒๗) ใน "สถาบันสงฆ์กับสังคมไทย" จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง
  • พิมพ์เป็นเล่มเดี่ยวในปีพุทธศักราช ๒๕๓๐ ในชื่อ "สถาบันสงฆ์ในสังคมไทย" ในวโรกาสที่ พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นที่ พระเทพเวที ในพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา ๕ รอบ เมื่อ ๕ ธันวาคม ๒๕๓๐
พิมพ์ครั้งแรก ๒๕๓๐
พิมพ์ล่าสุดครั้งที่ ๑ ๒๕๓๐
ISBN974-7423-25-1
เลขหมู่BQ6140

หนังสือที่เกี่ยวข้องกัน

พบหนังสือธรรมะ 3 เรื่อง
เนื้อหาในเว็บไซต์นอกเหนือจากไฟล์หนังสือและไฟล์เสียงธรรมบรรยาย เป็นข้อมูลที่รวบรวมขึ้นใหม่เพื่อช่วยในการศึกษาค้นคว้าของผู้สนใจ โดยมิได้ผ่านการตรวจทานจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
ผู้ใช้พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือหรือเสียงธรรมบรรยายต้นฉบับก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง