ลุอิสรภาพด้วยอนิจจัง

...อิสรภาพของบุคคลก็ดี อิสรภาพของสังคมก็ดี ต้องอาศัยความรู้ในเรื่องอนิจจังด้วยกันทั้งนี้น ในแง่ของอิสรภาพส่วนบุคคล หรืออิสรภาพทางด้านจิตปัญญาของบุคคลนั้น การที่เรารู้เท่าทันความจริงของสิ่งทั้งหลายว่า เป็นสิ่งที่ไม่ควร และไม่อาจเข้าไปยึดติด มัวเมาหลงใหล จิตก็จะได้เป็นอิสระจากกิเลส พร้อมที่จะปฏิบัติการ หรือทำการต่างๆ ด้วยปัญญาบริสุทธิ์ หรือด้วยเหตุผลบริสุทธิ์ ... ในแง่ของสังคม เรารู้อนิจจังก็เพื่่อไม่ประมาท เข้าไปเป็นปัจจัยร่วมในการที่จะผลักดัน กีดกั้น จัดสรรปัจจัยต่างๆ เพื่อนำมนุษย์ไปสู่สังคมที่มีอิสรภาพ ปลอดพ้นจาการเบียดเบียน...

ภาษาไทย
ที่มาจาก ธรรมกถา ปาฐกถา แก่ เพื่อเป็นเกียรติแด่ ฯพณฯ ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๒๙
เปลี่ยนไปสู่ ความเป็นอนิจจังของสังขารกับอิสรภาพของสังคม
ข้อมูลพัฒนาการ
  • "ลุอิสรภาพด้วยอนิจจัง" เรียบเรียงจากปาฐกถาประจำปี แสดงเพื่อเป็นเกียรติแก่ ฯพณฯ ปรีดี พยมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ในโอกาสที่มีการอัญเชิญอัฐิธาตุกลับสู่ประเทศไทย ในวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๒๙ ณ หอศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • พิมพ์ครั้งแรก รวมเล่มอยู่ในหนังสือ ปรีติธรรม และปรีดีนิวัติสัจจะคืนเมือง โดยให้ชื่อว่า "ความเป็นอนิจจังของสังขารกับอิสรภาพของสังคม" และคณะกรรมการบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประจำปี ๒๕๒๙ โดยคัดบางตอนมาพิมพ์ โดยใช้ชื่อที่ผู้บรรยายตั้งว่า "ลุอิสรภาพด้วยอนิจจัง" ต่อมาได้ตีพิมพ์เป็นภาคผนวกในหนังสือ "ไตรลักษณ์"
  • พิมพ์ครั้งแรก (กันยายน ๒๕๓๐) เป็นการพิมพ์แยกเล่มเฉพาะครั้งแรก จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์มูลนิธิโกมลคีมทอง
พิมพ์ครั้งแรกกันยายน ๒๕๓๐
พิมพ์ล่าสุดครั้งที่ ๒
ISBNยังไม่มีข้อมูล
เลขหมู่BQ4570.S6

หนังสือที่เกี่ยวข้องกัน

พบหนังสือธรรมะ 2 เรื่อง
เนื้อหาในเว็บไซต์นอกเหนือจากไฟล์หนังสือและไฟล์เสียงธรรมบรรยาย เป็นข้อมูลที่รวบรวมขึ้นใหม่เพื่อช่วยในการศึกษาค้นคว้าของผู้สนใจ โดยมิได้ผ่านการตรวจทานจากสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์
ผู้ใช้พึงตรวจสอบกับตัวเล่มหนังสือหรือเสียงธรรมบรรยายต้นฉบับก่อนนำข้อมูลไปใช้ในการอ้างอิง